FW: แนวคิดในการแก้ปัญหาน้ำ(ปัญหาความยากจนของเกษตรกร/ชาวนา ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศนั่นเอง.)

on วันพฤหัสบดีที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2552

คำเกริ่นนำ.

          ผู้เขียนบทความเชิงวิเคราะห์นี้ เพื่อที่จะให้ผู้ที่มีอำนาจในการแก้ไขปัญหา น้ำท่วม น้ำแล้ง ได้กรุณาใช้วิจารณ

ยาญในการพิจจารณา เพื่อให้เกิดประโยชน์แก้พี่น้องเกษตรกร/ชาวนาเป็นหลัก ถ้าพบว่ามีข้อมูลที่ไม่เป็นจริง/หรือไม่ถูก

ต้อง หรือมิได้บอกกล่าว  ขอได้โปรดชี้แนะด้วยนะครับ.

          ด้วยจิตรคารวะ

   ประชุม สุริยามาศ วย.๗๗๗


From: msuriyamas@hotmail.com
To: sasukmsu@gmail.com
Subject: FW: แนวคิดในการแก้ปัญหาน้ำ(ปัญหาความยากจนของเกษตรกร/ชาวนา ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศนั่นเอง.)
Date: Wed, 17 Jun 2009 08:54:58 -0800

เรียนคุณบอน ฯ

         กรุณาใช้ข้อมูลน้ำปี ๒๕๔๘ จากภาพ ๓๕๐ ครับ และข้อมูลร้ำปี ๒๕๔๙ จากภาพ ๓๔๙ ครับ

และค่าระดับน้ำในแม่น้ำโขง เป็น + ๑๖๐ ม. (ร.ท.ก.) ครับ.

         เราจะพบว่า ปริมาณน้ำต้นปี (มกราคม ๒๕๔๘) ปริมาตรน้ำในเขื่อนเหลือรวม ๑,๓๑๙ ล้าน ลบ.ม. คิดเป็น  ๒๒%

ของปรืมาตรเก็บกักสูงสุดรวม  ๕,๘๖๗ ล้าน ลบ.ม. ปริมาณน้ำต้นปี (มกราคม ๒๕๔๙) ปริมาตรน้ำในเขื่อนเหลือรวม

๒,๐๓๐ ล้าน ลบ.ม. คิดเป็น ๓๕% ของปริมาตรเก็บกักสูงสุดรวม. ๕,๘๖๗ ล้าน ลบ.ม.

          สำหรับคำพูดที่ว่า อีสาณมิได้ขาดน้ำเลย นั้น ให้กลับไปดูที่ กร๊าฟน้ำไหลลงเขื่อนต่างๆ จะพบว่าช่วงทีฝนกำลังตก

ชุกนั้น เขื่อนได้เปิดน้ำทิ้งเป็นปริมาณมาก หากเก็บกักเอาไว้ ปริมาตรน้ำในเขื่อน ต้นปี (มกราคม) จะทีปริมาณมากและใกล้

เคียงกับปริมาตรเก็บกักสูงสุดเกือบจะทุกปี.

                นับถือ.

         ประชุม สุริยามาศ.


From: msuriyamas@hotmail.com
To: sasukmsu@gmail.com
Subject: RE: แนวคิดในการแก้ปัญหาน้ำ(ปัญหาความยากจนของเกษตรกร/ชาวนา ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศนั่นเอง.)
Date: Wed, 17 Jun 2009 02:07:10 -0800

>เรียนคุณบอนที่นับถือ.

> >ก้อนอื่นผมต้องขอบคุณมากที่คุณบอน ฯ ได้ยื่นมือเข้ามาช่วยผม ซึ่งก็จะเหมือนคุณบอนได้ช่วยพี่น้องเกษตรกร/ชาวนา

>นั่นเองครับ ผมเป็นวิศวกรโยธา ฯ แต่ได้เปลี่ยนมาค้นหาเหตุแห่งทุกข์ของพี่น้องเกษตรกร/ชาวนา โดยเฉพาะในพื้นที่

>ภาคอีสาณมานานแล้วครับ ที่สำคัญผมได้ไปใช้ชีวิตอยู่ที่ จ.ขอนแก่น เป็นเวลานานพอสมควร และได้ตระเวณไปทั่ว

>ภาคอีสาณครับ. จึงได้รับทราบถึงปัญหาน้ำท่วม และฝนแล้งได้เป็นอย่างดีครับ. โดยเฉพาะหลังการก้อสร้างเขื่อนปากมูล

>ที่อำเภอโขงเจียม จ.อุบลราชธานี. ซึ่งเป็นเขื่อนแรก ในโครงการ โขง. ชี.มูล. ทำให้พี่น้องที่อยู่อาศัยทำกินตลอดริมฝั่ง

>ทั้งสองของแม่น้ำมูล.

> >ผมจะนำเสนอความจริงว่า   อีสาณมิได้ขาดน้ำเลยครับ ?และจะพยายามนำเสนอให้รัฐบาลต้องเปิดเขื่อน

>ปากมูลเป็นเวลา ๘ เดือน และปิดเขื่อนปากมูลเป็นเวลา ๔ เดือน จนกว่าจะไดhข้อยุติว่า จะเปิด หรือจะปิดเขื่อนปากมูล

>ตลอดไปกันแน่? ครับ. ผมได้ขอข้อมูลไปที่ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เพื่อที่จะได้รู้ว่า ทางอาจารย์ คณะที่ทำการวิจัยนั้น

>ได้กำหนดช่วงเวลาเปิดเขื่อนเป็นเวลา ๘ เดือนนั้น เริ่มจากเดือนไหน? ถึงเดือนไหน? และช่วงปิดเขื่อน ๔ เดือนนั้นเริ่มปิด

>จากเดือนไหน? ถึง เดือนไหน? ถ้าเราสามารถหาข้อมูลให้ได้ว่าปลาขึ้นมาวางไข่ได้จริง และเขื่อนก็ยังสามารถผลิตกระ

>แสรไฟฟ้าได้ไม่ต่างอะไร?มากนัก กับการปิดเขื่อน ๘ เดือน และเปิดเขื่อนเพียง ๔ เดือน. ปัญหาของพี่น้องเกษตรกร/

>ชาวนา ก็จะได้รับการแก้ไข.

> > สำหรับความคิดเห็นของผมนั้น ผมคิดว่า ถ้าผลออกมาว่า เปิดเขื่อน ๘ เดือน และปิดเขื่อน ๔ เดือน ตามผลการวิจัย

>ของ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี สามารถแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม คือปลา จะสามารถขึ้นมาวางไข่และสามารถเจริญเติบโต

>ได้ก็ตาม  แต่ก็จะยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาผลกระทบจากน้ำทะลักเข้าไปท่วมไร่นา ป่าบุ่งป่าทาม ซึ่งได้สร้างความสูญ

>เสียอย่างมหาศาลได้เลยครับ ทั้งนี้ก็เพราะข้อมูลการเก็บกักน้ำในเขื่อนต่างๆทั้งในพื้นที่อีส่ณเหนือ อีสาณกลาง และ

>อีสาณใต้ ได้ลดลงอย่างน่าใจหายครับ คือสามารถเก็บกักได้ไม่เกิน ๔๐% ของปริมาตรเก็บกักสูงสุดครับ ด้วยเหตุนี้

>ขเอนปากมูลกำลังเปิดประตูน้ำทั้ง ๘ บาน จากวันจันทร์ที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๒ เป็นเวลา ๔ เดือน ก็จะไปปิดเอาโน่น

>ครับวันพฤหัสบดีที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๒ ฝนก็จะหมดแล้วครับ ปัญหาปลาขึ้นมาวางไข่ได้ แต่โรงไฟฟ้าเขื่อนปากมูลจะ

>ไม่มีน้ำมาผลิตกระแสรไฟฟ้าครับ. เพราะน้ำต้นปีก็จะเหลือไม่เกิน ๔๐% ของปริมาตรน้ำเก็บกักสูงสุด และยังต้องหัก

>ปริมาณน้ำคงเหลือกันอ่าง (Dead Stock) อีกต่างหากครับ  ดังนั้นโรงไฟฟ้าเขื่อนปากมูลจะมีน้ำเพื่อใช้ผลิตกระ

>แสรไฟฟ้าได้ไม่เกิน ๒๕% ของกำลังการผลิตรวม/ปี (๒๘๐ ล้านหน่วย/ปี) เขื่อนปล่อยน้ำทิ้งช่วงหน้าฝนเฉลี่ยถึง

>๔,๐๐๐ - ๔,๕๐๐ ล้าน ลบ.ม.ครับ.ตรงนี้เองครับที่จะเป็นข้อมูลที่ยืนยันว่า ภาคอีสาณนั้น มิได้ขาดน้ำเลยครับ.?

>แล้วเราจะไปผันน้ำเข้ามาอีกทำไม?ครับ. เราควรปรับปรุงโครงการ โขง.ชี.มูล. โดยการลดระดับเก็บกักลงมา๔๐% ถึง

>๕๐% /หรือลดระดับเก็บกักน้ำในแม่น้ำมูล, แม่น้ำชี, และแม่น้ำปาวลง ๕.๕๐ - ๗.๕๐ เมตร ปัญหาทุกๆปัญหาก็จะ

>ได้รับการแก้ไขโดยอัตโนมัติครับ. เขื่อนใหญ่จำนวน ๕ เขื่อนที่วิกฤต (วิบัติ) ถึงกับต้องร้อและทำการก่อสร้างใหม่ก็ต้อง

>ทำครับ เพื่อที่จะทำให้เราสามารถเก็บกักน้ำได้มากขึ้นถึงปีละ ๔,๐๐๐ - ๔,๕๐๐ ล้าน ลบ.ม./ปี และปรับเปลี่ยนเป้า

>หมายการผลิตกระแสรไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าเขื่อนปากมูลเพิ้อการค้า เปลี่ยนมาเป็นการผลิตกระแสรไฟฟ้าเพื่อการเกษตร

>เพียงอย่างเดียวเท่านั้นครับ. กระแสรไฟฟ้าที่หดหายไป ให้ไปใช้ เขื่อนจำนวน ๕ เขื่อนที่ทำการก้อสร้างใหม่ผลิตแทน

>เขื่อนลำปาว,เขื่อนน้ำอูน,เขื่อนลำตะคอง ,เขื่อนลำพระเพลิง, เขื่อนลำมูลบน,และเขื่อนลำแซะ. และเขื่อนที่แข็งแรงดีก็

>คือ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ, และเขื่อนขุนด่านปราการชล (เขื่อนคลองบ้านท่าด่าน)ครับ.

> > ขอขอบคุณมากๆเลยนะครับคุณบอน ณ. กาฬวินธุ์

           ประชุม สุริยามาศ วย,๗๗๗.

หมายเหตุ. ผมได้แนบไฟล์ ตารางน้ำเก็บกักได้ต้ำกว่าเกณฑ์ ถึง ๔,๕๔๘ ล้าน ลบ.ม. ในปี๒๕๔๘ ครับ

            ซึ่งเป็นปีที่น้ำท่วมใหญ่ครับ.






> >
> > เมื่อ 6/10/09, Prachoom Suriyamas <msuriyamas@hotmail.com> เขียนว่า:
> >>
> >> เรียนคุณบอนที่นับถือ
> >>
> >>
> >>
> >> ผมเพียงขอให้คุณช้วยกระจายแนวคิดนี้เท่านั้น
> >> และไม่เคยหวังที่จะได้รับความช่วยเหลือจากหนัยงานราชการ
> >>
> >>
> >>
> >> เลยครับ
> >> เพราะความจริงเกษตรกร/ชาวนาก็ไม่เคยได้รับความช่วยเหลืออย่างยุติธรรมอยู่แล้วครับ.
> >>
> >>
> >>
> >> อย่างไรก็ตามก็ต้องขอขอบคุณที่ช่วยกระจายข้อมูลนี้ระครับ./ประชุม.
> >>
> >>
> >>
> >>
> >>
> >>
> >>
> >>
> >>
> >>> Date: Wed, 10 Jun 2009 12:33:55 +0700
> >>> Subject: Re: FW: แนวคิดในการแก้ปัญหาน้ำ(ปัญหาความยากจนของเกษตรกร/ชาวนา
> >>> ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศนั่นเอง.)
> >>> From: sasukmsu@gmail.com
> >>> To: msuriyamas@hotmail.com
> >>>
> >>> เรื่องแบบนี้ ภาคประชาชนคงต้องช่วยกันเองแล้ววกระมังครับ
> >>>
> >>> เมื่อ 6/7/09, Prachoom Suriyamas <msuriyamas@hotmail.com> เขียนว่า:
> >>> >
> >>> > ผมได้แสดงความคิดเห็นในการแก้ปัญหาความยากจน และได้ส่งต่อไปให้ พรรค
> >>> > ปชป.ครับ
> >>> > แต่เงียบครับ/ประชุม.
> >>> >
> >>> >
> >>> >
> >>> > From: msuriyamas@hotmail.com
> >>> > To: krabuangyai@hotmail.com
> >>> > Subject: FW: แนวคิดในการแก้ปัญหาน้ำ(ปัญหาความยากจนของเกษตรกร/ชาวนา
> >>> > ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศนั่นเอง.)
> >>> > Date: Fri, 22 May 2009 18:17:26 -0800
> >>> >
> >>> >
> >>> >
> >>> >
> >>> >
> >>> >
> >>> >
> >>> > From: msuriyamas@hotmail.com
> >>> > To: alongkorn@democrat.or.th; traffic@manager.co.th;
> >>> > winweb@thaimail.com;
> >>> > umphol_t@hotmail.com
> >>> > Subject: แนวคิดในการแก้ปัญหาน้ำ(ปัญหาความยากจนของเกษตรกร/ชาวนา
> >>> > ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศนั่นเอง.)
> >>> > Date: Sat, 17 Nov 2007 19:02:38 -0900
> >>> >
> >>> >
> >>> >
> >>> > เรียนคุณอลงกรณ์ พลบุตร
> >>> > ผมยังไม่เห็นนะโยบายน้ำในรายละเอียดเลย
> >>> > แต่ละพรรคจะใช้เงินเป็นแสนๆล้าน
> >>> > จึงอยากให้ลองฟัง(อ่านแนวคิดนี้) ครับ.
> >>> > ๑.) ใช้เงินน้อย
> >>> > ๒.) ทำได้ให้เห็นผลเร็ว
> >>> > ๓.) สามารถกระจายงานออกไปได้อย่างกว้างขวาง
> >>> > เพราะไม่ได้มีเทคนิคอะไรที่ยุ่งยาก
> >>> > ทหารช่างทำได้ดีและเร็ม ผู้รับเหมาระดับตำบลก็ทำได้.
> >>> > ๔.) ตัวอย่างการก่อสร้างถนนมิตรภาพจาก
> >>> > จังหวัดนครราชสีมา-จังหวัดอุดรธานี แล้วเสร็จภายใน ๒ ปี
> >>> > โดยการซอยสัญญากระจาย
> >>> > ไป ไม่รวบยอดเจ้าเดียว. เจ้าเล็กให้ ๒ โครงการ ๒๐๐ ล้านบาท
> >>> > เจ้าใหญ่ให้ ๑๐ โครงการ ๑,๐๐๐ ล้านบาท.ผู้รับเหมาไทยได้ยิ้มแนนอน
> >>> > วิศวกรจบใหม่ได้เกิดแน่นอน.
> >>> >
> >>> > จึงกราบเรียนมาเพื่อได้โปรดพิจจารณา.
> >>> >
> >>> > ขอแสดงความนับถือ.
> >>> >
> >>> > นายประชุม สุริยามาศ

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น