ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ |
3.5 การเก็บกักน้ำยังด้อยประสิทธิภาพ จึงไม่สามารถเก็บกักน้ำท่าจำนวนมากในฤดูฝน เอาไว้ใช้ในฤดูแล้งได้ ในปีหนึ่ง ๆ นั้นประเทศไทยมีฝนตกลงมาประมาณ 752,400 ล้านลูกบาศก์เมตร น้ำฝนส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 70 ซึมลงเป็นน้ำใต้ดิน (Ground Water) ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 30 หรือประมาณ 225,720 ล้านลูกบาศก์เมตรจะไหลไปบนพื้นผิวดิน เรียกว่า น้ำผิวดิน (Surface Runoff) หรือน้ำท่า (Streamflow) ซึ่งน้ำผิวดินหรือน้ำท่าเหล่านี้ สามารถเก็บกักไว้ได้เพียง 70,000 ล้านลูกบาศก์เมตร หรือราวร้อยละ 9.3 และนำมาใช้ได้จริงราว 40,000 ล้านลูกบาศก์เมตรเท่านั้น ดังนั้น ปริมาณน้ำฝนจำนวนมหาศาลราว 155,720 ล้านลูกบาศก์เมตรหรือร้อยละ 69 จึงไหลลงทะเลไปโดยไม่เกิดประโยชน์อย่างใดเลย
เหตุผลที่ว่าภาคอิสาน ไม่ขาดน้ำนั้น ขอให้อ่านข้อมูลข้างบน.
๓.๕.๑ การเก็บกักน้ำยังด้อยประสิทธิภาพ (การบริหารจัดการน้ำ)
๓.๕.๒ สภาพเขื่อนส่วนใหญ่ หมดสภาพ (ประสิทธิภาพเหลือต่ำกว่า ๔๐% ) เฉพาะในพื้นที่ภาคอิสาน เหนือ กลาง ใต้.
-ขื่อน ลำปาว ,เขื่อนลำพระเพลิง, เขื่อน ลำแซะ,เขื่อนมูลบน, เขื่อน ลำปลายมาศ,เขื่อนลำนางรอง
ในพื้นที่ภาคเหนือ
-เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล ,เขื่อนแม่กวงอุดมธารา ,
Your E-mail and More On-the-Go. Get Windows Live Hotmail Free. Sign up now.
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น